STRATEGIC MANAGEMENT

กำหนดการรายงานข้อมูลยุทธศาสตร์ส่วนงาน ปีงบประมาณ 2568 ผ่านระบบ CU-iDMS/ST

ส่วนงาน

กิจกรรม ไตรมาสที่ 1
(ต.ค. 67 – ธ.ค. 67)
ไตรมาสที่ 2
(ม.ค. – มี.ค. 68)
ไตรมาสที่ 3
(เม.ย. – มิ.ย. 68)
ไตรมาสที่ 4
(ก.ค. – ก.ย. 68)
รายงานข้อมูล 3 – 6 ก.พ. 68 28 เม.ย. – 2 พ.ค. 68 1 – 9 ก.ค. 68 1 – 9 ต.ค. 68
ตรวจสอบ 7 – 12 ก.พ. 68 3 – 8 พ.ค. 68 10 – 17 ก.ค. 68 10 – 16 ต.ค. 68
แก้ไขข้อมูล  13 – 20 ก.พ. 68  9 – 16 พ.ค. 68  18 – 25 ก.ค. 68  17 – 24 ต.ค. 68
ประมวลผลข้อมูล  1 – 6 มี.ค. 68  24 – 29 พ.ค. 68  1 – 6 ส.ค. 68  1 – 5 พ.ย. 68

หน่วยงานเจ้าภาพ

กิจกรรม ไตรมาสที่ 1
(ต.ค. 67 – ธ.ค. 67)
ไตรมาสที่ 2
(ม.ค. – มี.ค. 68)
ไตรมาสที่ 3
(เม.ย. – มิ.ย. 68)
ไตรมาสที่ 4
(ก.ค. – ก.ย. 68)
รายงานข้อมูล 3 – 6 ก.พ. 68 28 เม.ย. – 2 พ.ค. 68 1 – 9 ก.ค. 68 1 – 9 ต.ค. 68
ตรวจสอบ 7 – 12 ก.พ. 68 3 – 8 พ.ค. 68 10 – 17 ก.ค. 68 10 – 16 ต.ค. 68
ยืนยันข้อมูล  21 – 28 ก.พ. 68  17 – 23 พ.ค. 68  26 – 31 ก.ค. 68  25 – 31 ต.ค. 68
ประมวลผลข้อมูล 1 – 6 มี.ค. 68  24 – 29 พ.ค. 68  1 – 6 ส.ค. 68  1 – 5 พ.ย. 68

 

บริหารคุณภาพองค์กร

ขั้นตอนการดำเนินงาน ระยะเวลา
1. รายงาน CDS รอบปีปฏิทิน 2567
บันทึกค่าข้อมูล CDS (หน่วยงานเจ้าภาพ/ส่วนงาน) 19 ก.พ. – 7 มี.ค. 68
ตรวจ/แก้ไข/ยืนยัน (หน่วยงานเจ้าภาพ/ส่วนงาน) 10 – 31 มี.ค. 68
สอบทานโดยหน่วยงานเจ้าภาพ 1 เม.ย. – 18 เม.ย. 68
ตรวจสอบและปิดฐานข้อมูลระบบ CU-iDMS ด้านการบริหารจัดการคุณภาพรอบปีปฏิทิน 21 – 30 เม.ย. 68
2. รายงาน CDS รอบปีงบประมาณ 2568 และปีการศึกษา 2567
บันทึกค่าข้อมูล CDS (หน่วยงานเจ้าภาพ/ส่วนงาน) 1 ก.ค. – 8 ส.ค. 68
ตรวจ/แก้ไข/ยืนยัน (หน่วยงานเจ้าภาพ/ส่วนงาน) 11 – 29 ส.ค. 68
สอบทานโดยหน่วยงานเจ้าภาพ 1 – 12 ก.ย. 68
ตรวจสอบและปิดฐานข้อมูลระบบ CU-iDMS ด้านการบริหารจัดการคุณภาพรอบปีงบประมาณและรอบปีการศึกษา
หมายเหตุ CDS จำนวนโครงการบริการวิชาการ ส่งรายงานข้อมูลได้ภายใน 13 ธ.ค. 68
15 – 26 ก.ย. 68
3. การดำเนินการและการจัดทำรายงานตามระบบคุณภาพที่ส่วนงานเลือกใช้
ส่วนงานดำเนินการพัฒนาส่วนงานตามเกณฑ์มาตรฐานสากลที่เลือกใช้ และเข้าร่วมอบรม/เสวนา/ประชุม w/s ตามกรอบแนวทางที่มหาวิทยาลัยสนับสนุน ก.พ. – ก.ย. 68
ส่งรายงานการประกันคุณภาพการศึกษาตามระบบที่เลือกใช้ให้มหาวิทยาลัย ในรูปแบบไฟล์ Word และ PDF ผ่านระบบ Lesspaper ภายใน 1 ธ.ค. 68
4. การดำเนินการบันทึกข้อมูลในระบบ CHE QA Online
ฝ่ายวินิจฉัยองค์กรฯ Export ข้อมูลจากระบบ CU-iDMS เข้าระบบ CHE QA Online และตรวจสอบความครบถ้วนของข้อมูล 8 – 12 ธ.ค. 68
ส่วนงานมาดำเนินการบันทึก/ยืนยัน/ตรวจสอบข้อมูลในระบบ CHE QA Online 17 – 19 ธ.ค. 68
ฝ่ายวินิจฉัยองค์กรฯ ตรวจสอบข้อมูลของส่วนงานและมหาวิทยาลัยในระบบ CHE QA Online ในภาพรวมทั้งหมดให้มีความสมบูรณ์ 22 – 31 ธ.ค. 68
ฝ่ายวินิจฉัยองค์กรฯ นำเสนอคณะอนุกรรมการขับเคลื่อนฯ คณะกรรมการประกันคุณภาพ และสภามหาวิทยาลัย เพื่อพิจารณา และส่งข้อมูลให้ สป.อว. ในระบบ CHE QA Online ภายใน ก.พ. 69

พัฒนาระบบงาน

ขั้นตอนการดำเนินงาน ระยะเวลา
1. รายงาน CDS รอบปีปฏิทิน 2567
บันทึกค่าข้อมูล CDS (หน่วยงานเจ้าภาพ/ส่วนงาน) 19 ก.พ. – 7 มี.ค. 68
ตรวจ/แก้ไข/ยืนยัน (หน่วยงานเจ้าภาพ/ส่วนงาน) 10 – 31 มี.ค. 68
สอบทานโดยหน่วยงานเจ้าภาพ 1 เม.ย. – 18 เม.ย. 68
ตรวจสอบและปิดฐานข้อมูลระบบ CU-iDMS ด้านการบริหารจัดการคุณภาพรอบปีปฏิทิน 21 – 30 เม.ย. 68
2. รายงาน CDS รอบปีงบประมาณ 2568 และปีการศึกษา 2567
บันทึกค่าข้อมูล CDS (หน่วยงานเจ้าภาพ/ส่วนงาน) 1 ก.ค. – 8 ส.ค. 68
ตรวจ/แก้ไข/ยืนยัน (หน่วยงานเจ้าภาพ/ส่วนงาน) 11 – 29 ส.ค. 68
สอบทานโดยหน่วยงานเจ้าภาพ 1 – 12 ก.ย. 68
ตรวจสอบและปิดฐานข้อมูลระบบ CU-iDMS ด้านการบริหารจัดการคุณภาพรอบปีงบประมาณและรอบปีการศึกษา
หมายเหตุ CDS จำนวนโครงการบริการวิชาการ ส่งรายงานข้อมูลได้ภายใน 13 ธ.ค. 68
15 – 26 ก.ย. 68
3. การดำเนินการและการจัดทำรายงานตามระบบคุณภาพที่ส่วนงานเลือกใช้
ส่วนงานดำเนินการพัฒนาส่วนงานตามเกณฑ์มาตรฐานสากลที่เลือกใช้ และเข้าร่วมอบรม/เสวนา/ประชุม w/s ตามกรอบแนวทางที่มหาวิทยาลัยสนับสนุน ก.พ. – ก.ย. 68
ส่งรายงานการประกันคุณภาพการศึกษาตามระบบที่เลือกใช้ให้มหาวิทยาลัย ในรูปแบบไฟล์ Word และ PDF ผ่านระบบ Lesspaper ภายใน 1 ธ.ค. 68
4. การดำเนินการบันทึกข้อมูลในระบบ CHE QA Online
ฝ่ายวินิจฉัยองค์กรฯ Export ข้อมูลจากระบบ CU-iDMS เข้าระบบ CHE QA Online และตรวจสอบความครบถ้วนของข้อมูล 8 – 12 ธ.ค. 68
ส่วนงานมาดำเนินการบันทึก/ยืนยัน/ตรวจสอบข้อมูลในระบบ CHE QA Online 17 – 19 ธ.ค. 68
ฝ่ายวินิจฉัยองค์กรฯ ตรวจสอบข้อมูลของส่วนงานและมหาวิทยาลัยในระบบ CHE QA Online ในภาพรวมทั้งหมดให้มีความสมบูรณ์ 22 – 31 ธ.ค. 68
ฝ่ายวินิจฉัยองค์กรฯ นำเสนอคณะอนุกรรมการขับเคลื่อนฯ คณะกรรมการประกันคุณภาพ และสภามหาวิทยาลัย เพื่อพิจารณา และส่งข้อมูลให้ สป.อว. ในระบบ CHE QA Online ภายใน ก.พ. 69

การจัดอันดับมหาวิทยาลัยโลก

ขั้นตอนการดำเนินงาน ระยะเวลา
1. รายงาน CDS รอบปีปฏิทิน 2567
บันทึกค่าข้อมูล CDS (หน่วยงานเจ้าภาพ/ส่วนงาน) 19 ก.พ. – 7 มี.ค. 68
ตรวจ/แก้ไข/ยืนยัน (หน่วยงานเจ้าภาพ/ส่วนงาน) 10 – 31 มี.ค. 68
สอบทานโดยหน่วยงานเจ้าภาพ 1 เม.ย. – 18 เม.ย. 68
ตรวจสอบและปิดฐานข้อมูลระบบ CU-iDMS ด้านการบริหารจัดการคุณภาพรอบปีปฏิทิน 21 – 30 เม.ย. 68
2. รายงาน CDS รอบปีงบประมาณ 2568 และปีการศึกษา 2567
บันทึกค่าข้อมูล CDS (หน่วยงานเจ้าภาพ/ส่วนงาน) 1 ก.ค. – 8 ส.ค. 68
ตรวจ/แก้ไข/ยืนยัน (หน่วยงานเจ้าภาพ/ส่วนงาน) 11 – 29 ส.ค. 68
สอบทานโดยหน่วยงานเจ้าภาพ 1 – 12 ก.ย. 68
ตรวจสอบและปิดฐานข้อมูลระบบ CU-iDMS ด้านการบริหารจัดการคุณภาพรอบปีงบประมาณและรอบปีการศึกษา
หมายเหตุ CDS จำนวนโครงการบริการวิชาการ ส่งรายงานข้อมูลได้ภายใน 13 ธ.ค. 68
15 – 26 ก.ย. 68
3. การดำเนินการและการจัดทำรายงานตามระบบคุณภาพที่ส่วนงานเลือกใช้
ส่วนงานดำเนินการพัฒนาส่วนงานตามเกณฑ์มาตรฐานสากลที่เลือกใช้ และเข้าร่วมอบรม/เสวนา/ประชุม w/s ตามกรอบแนวทางที่มหาวิทยาลัยสนับสนุน ก.พ. – ก.ย. 68
ส่งรายงานการประกันคุณภาพการศึกษาตามระบบที่เลือกใช้ให้มหาวิทยาลัย ในรูปแบบไฟล์ Word และ PDF ผ่านระบบ Lesspaper ภายใน 1 ธ.ค. 68
4. การดำเนินการบันทึกข้อมูลในระบบ CHE QA Online
ฝ่ายวินิจฉัยองค์กรฯ Export ข้อมูลจากระบบ CU-iDMS เข้าระบบ CHE QA Online และตรวจสอบความครบถ้วนของข้อมูล 8 – 12 ธ.ค. 68
ส่วนงานมาดำเนินการบันทึก/ยืนยัน/ตรวจสอบข้อมูลในระบบ CHE QA Online 17 – 19 ธ.ค. 68
ฝ่ายวินิจฉัยองค์กรฯ ตรวจสอบข้อมูลของส่วนงานและมหาวิทยาลัยในระบบ CHE QA Online ในภาพรวมทั้งหมดให้มีความสมบูรณ์ 22 – 31 ธ.ค. 68
ฝ่ายวินิจฉัยองค์กรฯ นำเสนอคณะอนุกรรมการขับเคลื่อนฯ คณะกรรมการประกันคุณภาพ และสภามหาวิทยาลัย เพื่อพิจารณา และส่งข้อมูลให้ สป.อว. ในระบบ CHE QA Online ภายใน ก.พ. 69

การคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล

ขั้นตอนการดำเนินงาน ระยะเวลา
1. รายงาน CDS รอบปีปฏิทิน 2567
บันทึกค่าข้อมูล CDS (หน่วยงานเจ้าภาพ/ส่วนงาน) 19 ก.พ. – 7 มี.ค. 68
ตรวจ/แก้ไข/ยืนยัน (หน่วยงานเจ้าภาพ/ส่วนงาน) 10 – 31 มี.ค. 68
สอบทานโดยหน่วยงานเจ้าภาพ 1 เม.ย. – 18 เม.ย. 68
ตรวจสอบและปิดฐานข้อมูลระบบ CU-iDMS ด้านการบริหารจัดการคุณภาพรอบปีปฏิทิน 21 – 30 เม.ย. 68
2. รายงาน CDS รอบปีงบประมาณ 2568 และปีการศึกษา 2567
บันทึกค่าข้อมูล CDS (หน่วยงานเจ้าภาพ/ส่วนงาน) 1 ก.ค. – 8 ส.ค. 68
ตรวจ/แก้ไข/ยืนยัน (หน่วยงานเจ้าภาพ/ส่วนงาน) 11 – 29 ส.ค. 68
สอบทานโดยหน่วยงานเจ้าภาพ 1 – 12 ก.ย. 68
ตรวจสอบและปิดฐานข้อมูลระบบ CU-iDMS ด้านการบริหารจัดการคุณภาพรอบปีงบประมาณและรอบปีการศึกษา
หมายเหตุ CDS จำนวนโครงการบริการวิชาการ ส่งรายงานข้อมูลได้ภายใน 13 ธ.ค. 68
15 – 26 ก.ย. 68
3. การดำเนินการและการจัดทำรายงานตามระบบคุณภาพที่ส่วนงานเลือกใช้
ส่วนงานดำเนินการพัฒนาส่วนงานตามเกณฑ์มาตรฐานสากลที่เลือกใช้ และเข้าร่วมอบรม/เสวนา/ประชุม w/s ตามกรอบแนวทางที่มหาวิทยาลัยสนับสนุน ก.พ. – ก.ย. 68
ส่งรายงานการประกันคุณภาพการศึกษาตามระบบที่เลือกใช้ให้มหาวิทยาลัย ในรูปแบบไฟล์ Word และ PDF ผ่านระบบ Lesspaper ภายใน 1 ธ.ค. 68
4. การดำเนินการบันทึกข้อมูลในระบบ CHE QA Online
ฝ่ายวินิจฉัยองค์กรฯ Export ข้อมูลจากระบบ CU-iDMS เข้าระบบ CHE QA Online และตรวจสอบความครบถ้วนของข้อมูล 8 – 12 ธ.ค. 68
ส่วนงานมาดำเนินการบันทึก/ยืนยัน/ตรวจสอบข้อมูลในระบบ CHE QA Online 17 – 19 ธ.ค. 68
ฝ่ายวินิจฉัยองค์กรฯ ตรวจสอบข้อมูลของส่วนงานและมหาวิทยาลัยในระบบ CHE QA Online ในภาพรวมทั้งหมดให้มีความสมบูรณ์ 22 – 31 ธ.ค. 68
ฝ่ายวินิจฉัยองค์กรฯ นำเสนอคณะอนุกรรมการขับเคลื่อนฯ คณะกรรมการประกันคุณภาพ และสภามหาวิทยาลัย เพื่อพิจารณา และส่งข้อมูลให้ สป.อว. ในระบบ CHE QA Online ภายใน ก.พ. 69

จุฬาฯ อันดับ 1 ของไทย 32 สาขา การจัดอันดับมหาวิทยาลัยโดย QS WUR by Subject 2024

จุฬาฯ อันดับ 1 ของไทย 32 สาขา การจัดอันดับมหาวิทยาลัยโดย QS WUR by Subject 2024
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยได้รับการจัดอันดับเป็นมหาวิทยาลัยอันดับ 1 ของไทยรวมทั้งสิ้น 32 สาขา จากการจัดอันดับมหาวิทยาลัยชั้นนำของโลกในสาขาวิชาต่างๆ โดย QS World University Rankings by Subject 2024 ซึ่งประกาศผลเมื่อวันที่ 10 เมษายน 2567
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยครองอันดับ 1 ของไทยใน 32 สาขา จากกลุ่มสาขาต่างๆ ดังนี้
กลุ่มสาขา Art & Humanities 8 สาขา ได้แก่
• Architecture & Built Environment
• Art & Design
• English Language & Literature
• History
• Linguistics
• Modern Languages
• Performing Arts
• Theology, Divinity & Religious Studies
กลุ่มสาขา Engineering & Technology 7 สาขา ได้แก่
• Computer Science & Information Systems
• Engineering – Chemical
• Engineering – Civil & Structural
• Engineering – Electrical & Electronic
• Engineering – Mechanical
• Engineering – Mineral & Mining
• Engineering – Petroleum
กลุ่มสาขา Natural Sciences 6 สาขา ได้แก่
• Chemistry
• Earth Sciences
• Environmental Sciences
• Geography
• Materials Sciences
• Physics & Astronomy
กลุ่มสาขา Social Sciences & Management 10 สาขา ได้แก่
• Accounting & Finance
• Anthropology
• Business & Management Studies
• Economics & Econometrics
• Education & Training
• Law & Legal Studies
• Politics
• Social Policy & Administration
• Sociology
• Sports-Related Subjects
ลุ่มสาขา Life Sciences & Medicine 1 สาขา
• Dentistry

นอกจากนี้ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยติดอันดับโลกถึง 53 สาขาเฉพาะ ในจำนวนนี้ได้รับการประกาศขึ้นหน้าเว็บไซต์ของ QS จำนวน 38 สาขา โดยจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยมีสาขาเฉพาะที่โดดเด่นระดับโลก (Top 200 in Global) จำนวน 30 สาขา
การจัดอันดับมหาวิทยาลัยโดย QS World University Rankings by Subject 2024 พิจารณาจาก 5 ตัวชี้วัด ได้แก่ ชื่อเสียงทางวิชาการ (Academic Reputation) ชื่อเสียงจากผู้จ้างงาน (Employer Reputation) จำนวนการอ้างอิงต่อจำนวนผลงานวิจัย (Citations per Paper) ดัชนีการประเมินคุณภาพผลงานตีพิมพ์ในวารสาร (H-index) และเครือข่ายความร่วมมือวิจัยนานาชาติ (International Research Network) ซึ่งแต่ละตัวชี้วัดจำแนกต่างกันตามสาขาวิชา

ที่มา : Chula Communication Center (CCC)

ไอคอน PDPA

เราใช้คุกกี้เพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพและความสะดวกในการใช้งานเว็บไซต์ของคุณ อ่านเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และคุณสามารถจัดการการตั้งค่าคุกกี้ได้ที่ ตั้งค่า

ตั้งค่าความเป็นส่วนตัว

You can choose your cookie settings by enabling/disabling cookies for each category as needed, except for necessary cookies.

Accept All
จัดการความเป็นส่วนตัว
  • Necessary cookies
    เปิดใช้งานตลอด

    Necessary cookies are essential for the functioning of the website, allowing you to use and browse the site normally. You cannot disable these cookies in our website's system.

  • คุกกี้วิเคราะห์เพื่อปรับปรุงประสบการณ์การใช้งาน

    คุกกี้เหล่านี้ใช้เพื่อรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับการใช้งานเว็บไซต์ เช่น จำนวนผู้เข้าชม, หน้าเว็บที่ได้รับความนิยม และพฤติกรรมการท่องเว็บ ซึ่งช่วยให้เจ้าของเว็บไซต์ปรับปรุงประสบการณ์การใช้งานของผู้ใช้ได้

  • คุกกี้การทำงานเพื่อจดจำการตั้งค่าผู้ใช้

    คุกกี้เหล่านี้ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการใช้งานเว็บไซต์ โดยจดจำการตั้งค่าที่ผู้ใช้เคยกำหนดไว้ เช่น ชื่อผู้ใช้, ภาษา, ภูมิภาค หรือการปรับแต่งเว็บไซต์ตามความต้องการ

Save